
ส่วนบริการกลางมีความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสีเขียว เสริมสร้างภาพลักษณ์การเป็นเมืองมหาวิทยาลัยสีเขียวแห่งความสุข มีเป้าหมายเพื่อให้มหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่ดี ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนการสอนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย รวมถึงการบริการต่างๆที่คำนึงถึงคุณสมบัติที่ประหยัดไฟฟ้าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Green Procurement อีกด้วย
- ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Setting and Infrastructure)
- ด้านการจัดการพลังงานและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Energy and Climate Change)
- ด้านการจัดการของเสีย (Waste)
- ด้านการจัดการน้ำ (Water)
- ด้านการจัดการระบบขนส่งภายใน (Transportation)
- ด้านการให้การศึกษาวิจัยและบริการวิชาการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม (Education and Research)
1. นายพิพัฒน์ ปุเต๊ะ ประธาน 2. นายขจรศักดิ์ เพชรานันท์ กรรมการ 3. นางสาวชมพูนุช เทพรักษา กรรมการ 4. นางสาวสรัญญา กูหมาด กรรมการ 5. นางสุรีรัชก์ คำหอม เลขานุการ
1. สถานที่ตั้งของส่วนบริการกลาง
เส้นทางจาก อาคารไทยบุรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ไปอาคารสโมสร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ระยะเวลาเดินทาง 4 นาที ระยะทาง 3.1 กิโลเมตร
1. มุ่งหน้าทางตะวันออก
2. เลี้ยวขวา
3. ที่วงเวียน ตรงต่อไปเรื่อยๆ
4. เลี้ยวขวา
5. ถึงสถานที่: อาคารสโมสร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สำหรับเส้นทางที่ดีที่สุด ไปที่ https://maps.app.goo.gl/4i2GfRjFyTEmaPiy9
ส่วนบริการกลางตั้งอยู่ ณ อาคารสโมสร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ แบ่งออกเป็น 6 ห้อง ดังนี้
1.2 ส่วนบริการกลางกับสิ่งแวดล้อมสีเขียว
1.3 จำนวนบุคลากรของส่วนบริการกลาง
ส่วนส่วนบริการกลางมีจำนวนบุคลากร 20 คน ประกอบด้วย
– หัวหน้าส่วน จำนวน 1 คน
– เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป จำนวน 5 คน
– พนักงานธุรการ จำนวน 2 คน – พนักงานประสานงาน จำนวน 5 คน – หัวหน้าโซน จำนวน 3 คน – เจ้าหน้าที่บริการ จำนวน 1 คน – ช่างฝีมือ จำนวน 9 คน – พนักงานขับรถยนต์ จำนวน 4 คน – เจ้าหน้าที่บังคับการ จำนวน 2 คน – พนักงานห้องควบคุมกล้องวงจรปิด จำนวน 3 คน – นายช่างเทคนิค จำนวน 3 คน – พนักงานวิทยุสื่อสาร จำนวน 2 คน – พนักงานรักษาความปลอดภัย จำนวน 122 คน – พนักงานทำความสะอาด จำนวน 95 คน ตามแผนภาพโครงสร้างของหน่วยงาน ประกอบด้วยงานบริหารทั่วไปและธุรการ งานซ่อมบำรุงรักษาและจ้างเหมาบริการระบบปรับอากาศ งานบริการยานพาหนะ งานบริการและรักษาความสะอาด และงานพิทักษ์ทรัพย์สินและรักษาความปลอดภัย
ข้อมูลตามเกณฑ์การประเมิน
1. การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยในการประหยัดพลังงาน ส่วนบริการกลางมีเครื่องใช้ไฟฟ้า ดังนี้
1.1 หลอดไฟฟ้า จำนวน 62 หลอด
1.2 เครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 28 ชุด
1.3 เครื่อง Scanner จำนวน 1 เครื่อง
1.4 เครื่อง Printer จำนวน 3 เครื่อง
1.5 เครื่องคำนวณ จำนวน 1 เครื่อง
1.6 เครื่องปรับอากาศ จำนวน 10 เครื่อง (มีฉลากประหยัดไฟ จำนวน 4 เครื่อง)
1.7 ตู้เย็น จำนวน 1 ตู้ (มีฉลากประหยัดไฟ)
2. การผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในหน่วยงาน
N/A
3. ปริมาณการใช้ไฟฟ้าทั้งปี 2561
ไม่มีรายละเอียดข้อมูลที่หน่วยงานดูแลรับผิดชอบ
4.การอนุรักษ์พลังงานและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของส่วนบริการกลาง
มาตรการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของส่วนพัสดุ ดังนี้
1. ปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์เมื่อพักระหว่างการทำงานและปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เมื่อเลิกใช้งานหรือทำงานเสร็จแล้ว
2. ปิดเครื่องใช้สำนักงานทุกชนิดภายหลังเลิกงาน เมื่อไม่ได้ใช้งานแล้ว
3. ทำสวิตส์ไฟกระตุกที่โต๊ะทำงานของพนักงานส่วนพัสดุทุกคน และพื้นที่ส่วนกลาง
4. ปิดเครื่องปรับอากาศเวลา 12.00 น.และเวลา 16.00 น.
5. เปิดม่านเพื่อรับแสงจากธรรมชาติ
6.ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประหยัดไฟเบอร์ 5
7. รณรงค์สร้างจิตสำนึกในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า
8.การลดใช้พลาสติก โฟมโดยการนำภาชนะที่สามารถใช้ซ้ำได้ เช่น ใช้กระติกน้ำบรรจุน้ำดื่ม
9. การใช้รถจักรยานในการปฏิบัติงานในพื้นที่มหาวิทยาลัยแทนการใช้รถยนต์ โดยส่วนพัสดุมีรถจักรยาน จำนวน 5 คัน หมุนเวียนกันใช้งานไปปฏิบัติหน้าที่
1.นโยบายการลดใช้กระดาษและพลาสติกในหน่วยงาน
ทรัพยากรกระดาษนั้น เป็นสิ่งที่จำเป็นในทุก ๆ หน่วยงาน ในการใช้กระดาษ เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และส่วนบริการกลาง ในด้านการบริหารจัดการแบบลีน (Lean Management) เพื่อลดการใช้พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ภายใต้ “โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว” (GREEN WALAILAK UNIVERSITY) ส่วนบริการกลางจึงได้ริเริ่มโครงการบริหารจัดการการใช้กระดาษภายในหน่วยงานขึ้น ดังนี้
1. อย่าใช้กระดาษหน้าเดียวทิ้ง ให้ใช้กระดาษอย่างคุ้มค่าใช้ทั้งสองหน้า ให้นึกเสมอว่า กระดาษแต่ละแผ่นย่อมหมายถึงต้นไม้หนึ่งต้นที่ต้องเสียไป
2. ลดการใช้กระดาษเพิ่มมากขึ้น ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้กระดาษปะหน้าโทรสาร โดยหันมาใช้วิธีการ Save file หรือส่งงานในรูปแบบ PDF E-mail Line แทนการใช้กระดาษ
3. การส่งข้อมูลข่าวสารต่างๆ ในสำนักงานเน้นให้ผ่านระบบ E Office
4. หลีกเลี่ยงการใช้จานกระดาษ แก้วน้ำกระดาษ เวลาจัดงานสังสรรค์ต่างๆ เพราะสิ้นเปลืองพลังงานในการผลิต
5. หนังสือพิมพ์อ่านเสร็จแล้วอย่าทิ้ง ให้เก็บไว้ขาย หรือพับถุง เก็บไว้ทำอะไรอย่างอื่น ใช้ซ้ำทุกครั้งถ้าทำได้ ช่วยลดการใช้พลังงานในการผลิต
6. สนับสนุนสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ เป็นวัสดุที่สามารถนำมาผ่านกระบวนการนำมาใช้ใหม่ (Recycle) เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ พลาสติกบางประเภท โดยจัดให้มีการแยกขยะในสำนักงาน 7. รณรงค์ใช้ถุงผ้าหรือนำถุงพลาสติกใส่ของมาใช้ซ้ำ
ส่วนบริการกลาง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้มีกระบวนการในการบริหารจัดการทรัพยากรกระดาษในส่วนกลางของส่วนบริการกลาง โดยมีการรณรงค์ให้บุคลากรเห็นถึงความสำคัญในการใช้ทรัพยากรของหน่วยงานอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สุงสุด ซึ่งได้จัดทำสถิติ และบันทึกการใช้กระดาษและมีเจ้าหน้าที่คอยรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือในการจัดสรรทรัพยากร ประกอบด้วยพนักงานบริการอัดสำเนา เจ้าหน้าที่พัสดุ นักประชาสัมพันธ์ และบุคลากรทุกส่วนงาน เพื่อตระหนักถึงความสำคัญในการประหยัดทรัพยากร ทั้งนี้ส่วนบริการได้ผลักดันสนับสนุนให้บุคลากรนำเทคโนโลยีด้านสารสนเทศมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานด้านเอกสารอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น
2.โครงการรณรงค์การรีไซเคิลขยะ – รู้จักแยกแยะประเภทขยะ เพื่อช่วยลดขั้นตอน และลดพลังงานในการทำลายขยะ และทำให้ขยะทั้งหลายง่ายต่อการกำจัด – งด เลิก บริโภคผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้วทิ้งเลย เพราะเป็นการสิ้นเปลืองพลังงานในการผลิต ใช้ทรัพยากรธรรมชาติสิ้นเปลือง เพิ่มปริมาณขยะ เปลืองพลังงานในการกำจัดขยะ – ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ที่มีบรรจุภัณฑ์ที่ยากต่อการทำลาย เช่น โฟม หรือพลาสติก ควรเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ (Reuse) หรือนำไปผ่านกระบวนการผลิตมาใช้ใหม่ได้ (Recycle)
3. การจัดการขยะมีพิษ
N/A
4. การจัดการขยะอินทรีย์
N/A
5. การบำบัดขยะอนินทรีย์
N/A
6. การจัดการน้ำเสีย
N/A
มาตรการอนุรักษ์การใช้น้ำของส่วนบริการกลาง
1.การสำรวจตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำตั้งแต่ท่อน้ำรั่วภายในหน่วยงาน โดยการปิดก๊อกน้ำทุกตัวหลังจากที่ทุกคนกลับบ้านแล้วให้จดเลขมาตรวัดน้ำไว้ หากมีการเคลื่อนไหวโดยที่ไม่มีใครเปิดน้ำใช้ให้เรียกช่างมาซ่อมทันที 2. ตรวจสอบชักโครกว่ามีจุดรั่วซึมหรือไม่ โดยหยดสีผสมอาหารลงในถังพักน้ำและสังเกตดูคอห่านหากมีน้ำสีลงมาโดยไม่ได้กดชักโครกให้รีบซ่อมแซม 3.ไม่เปิดน้ำไหลตลอดเวลาขณะล้างหน้าเพราะจะสูญเสียน้ำโดยเปล่าประโยชน์นาทีละหลายๆลิตร 4.ไม่ทิ้งเศษอาหาร กระดาษ สารเคมีทุกชนิด ลงในชักโครกเพราะจะสูญเสียน้ำปริมาณมากในการชักโครกเพื่อไล่สิ่งของดังกล่าวลงท่อ 5.ให้ใช้สบู่เหลวแทนสบู่ก้อนเมื่อต้องการล้างมือเพราะการใช้สบู่ก้อนล้างมือจะใช้เวลามากกว่าการใช้สบู่เหลว ที่ทำให้สิ้นเปลืองน้ำมากกว่า แต่การล้างมือด้วยสบู่เหลวที่เข้มข้นก็จะใช้น้ำมากกว่าการล้างมือด้วยสบู่เหลวที่ไม่เข้มข้นเช่นกัน 6.ไม่ทิ้งน้ำดื่มที่เหลือในแก้วโดยไม่เกิดประโยชน์อันใด อาจนำไปใช้รดน้ำต้นไม้ ใช้ชำระพื้นผิวหรือใช้ทำความสะอาดสิ่งต่างๆ ตลอดจนให้ใช้เหยือกน้ำกับแก้วเปล่าในการบริการน้ำดื่มและให้ผู้ที่ต้องการดื่มรินน้ำดื่มเองและควรดื่มให้หมดทุกครั้ง 7.การจะล้างจานให้ล้างในภาชนะที่ขังน้ำไว้ จะประหยัดน้ำได้มากกว่าการล้างจานด้วยวิธีที่ปล่อยให้น้ำไหลจากก๊อกน้ำตลอดเวลา 8.การล้างรถไม่ควรใช้สายยางและเปิดน้ำให้ไหลตลอดเวลา เพราะจะใช้น้ำมากถึง 400 ลิตร แต่การล้างด้วยน้ำและฟองน้ำในกระป๋องหรือภาชนะบรรจุน้ำจะลดการใช้น้ำได้มากถึง 300 ลิตรต่อการล้าง 1 ครั้ง ที่สำคัญไม่ควรล้างรถบ่อยครั้งจนเกินไป เพราะนอกจากจะสิ้นเปลืองน้ำแล้วยังทำให้เกิดสนิมตัวถังได้ด้วย สถิติการใช้ของส่วนบริการกลางมีการใช้น้ำอย่างคุ้มค่าและประหยัดที่สุด
ปีพ.ศ. | น้ำประปา (ลบ.ม.) | น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติ (ลบ.ม.) |
2560 | 2,628 | 0 |
2561 | 5,659 | 0 |
2562 | 0 | 0 |
1.โครงการหรือกิจกรรมการอนุรักษ์/การลดการใช้น้ำในหน่วยงาน
N/A
2.การดำเนินโครงการรีไซเคิลน้ำ
N/A
3.การใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำที่มีประสิทธิภาพ
N/A
TR 1 The total number of vehicles (cars and motorcycles) divided by total campus population
TR 2 Shuttle services
TR 3 Zero Emission Vehicles (ZEV) policy on campus
TR 4 The total number of Zero Emission Vehicles (ZEV) divided by total campus population
TR 5 The ratio of the parking area to total campus area
TR 6 Transportation program designed to limit or decrease the parking area on campus for the last 3 years (from 2016 to 2018)
TR 7 Number of transportation initiatives to decrease private vehicles on campus
TR 8 Pedestrian path policy on campus